กล้วยไม้พันธ์ต่างๆ
สกุลเข็ม (Ascocentrum)
กล้วยไม้สกุลนี้มีในบ้านเรา 3 ชนิด จากจำนวน 4 ชนิด และเป็นชนิดที่มีดอกสวยงามมากที่สุดคือ เข้มม่วง เข็มแดง และเข็มแสด ส่วนเข็มขาวและเข็มเหลือเป็นไม้ในสกุลแวนดา และเข็มหนูได้ย้ายไปไว้ในสกุล Smitinandia ซึ่งเพิ่งตั้งขึ้นใหม่ เข็มทั้ง 3 ชนิดที่กล่าวข้างต้นมีต้นและดอกเล็กแต่มีสีสันสดใสมาก เมื่องบานพรูพร้อมกันหลาย ๆ ช่อจึงดูสวยงามน่าดูมากเข้าลักษณะไม้แคระ (miniature) ได้เมื่อเที่ยบกับขนาดของแวนดาทั่วไป ปลูเลี้ยงง่าย ชอบ แดดโดคเฉพาะเข็มแสด และเข็มแดง ส่วนเข็มม่วงเลี้ยงยากกว่าและออกดอกยาวกว่าด้วย
กล้วยไม้สกุลนี้มีในบ้านเรา 3 ชนิด จากจำนวน 4 ชนิด และเป็นชนิดที่มีดอกสวยงามมากที่สุดคือ เข้มม่วง เข็มแดง และเข็มแสด ส่วนเข็มขาวและเข็มเหลือเป็นไม้ในสกุลแวนดา และเข็มหนูได้ย้ายไปไว้ในสกุล Smitinandia ซึ่งเพิ่งตั้งขึ้นใหม่ เข็มทั้ง 3 ชนิดที่กล่าวข้างต้นมีต้นและดอกเล็กแต่มีสีสันสดใสมาก เมื่องบานพรูพร้อมกันหลาย ๆ ช่อจึงดูสวยงามน่าดูมากเข้าลักษณะไม้แคระ (miniature) ได้เมื่อเที่ยบกับขนาดของแวนดาทั่วไป ปลูเลี้ยงง่าย ชอบ แดดโดคเฉพาะเข็มแสด และเข็มแดง ส่วนเข็มม่วงเลี้ยงยากกว่าและออกดอกยาวกว่าด้วย
เข็มม่วง (Asctm. ampullaceum)
มีทรงต้นอ้วยล่ำกว่าชนิดอื่นใบกว่างแข็งออกซ้อนชิดกัน ปลายชี้ตั้งขึ้นยางประมาณ 15 ซม. ปลายใบตัดเป็นฟันแหลมไม่เท่กันก้านช่อตั้งเฉียงๆ ขนานกับใบยาวประมาณ 15 ซม. ดอกดกออกรอบก้านช่อตั้งแต่ฟันกาบใบขึ้นไปจำนวนดอกประมาณ 30ดอกต่อช่อ ดอกโตประมาณ 2 วม. สีม่วงแดง ปากเล็กแคบสีเหนือนวน ฤดูดอกในราวเดือนมีนาคมถึง พฤษภาคม และทนอยู๋ได้ 2 สัปดาห์
เข็มม่วงมีถินกำเนิดบริเวณเดียวกับเข็มแดง แต่มักขึ้นอยู๋ในระดับสูงกว่า อากาศเย็นกว่าเมื่อนำมาปลูกเลี้ยงในกรุงเทพฯ จึงอ่านแอเน่าง่าย เมื่อได้รับความชื้นสูงต้องใช่วิธีแขวนไว้ในที่สู.ลมโกรกแต่ค่อนข้างร่มกว่าเข็มชนิดอื่นจึงพออยู่ได้ และออกดอกให้ชมบ้างใยบางปีและหลายช่อด้วย แต่ช่อมักสั้นกว่าปกติ
เข็มแดง (Asctm. curvfolium)
ทรงต้นผอมบางกว่าเข็มแสดแดง ยาวราว 15-20 ซม. กก้านช่อตั้งแต่ไม่แข็มเท่าเข็มแสด ยาวแระมาณ 20 ซม. ขนาดดอกโดยประมาณ 1.5 ซม. หรือโตกว่าเล็กน้อยออกรอบก้านช่อเป็นระเบียบพองาม ดอกสีส้มอมแดงหรือข่อนข้างแดงสดใส่ปลายเส้นมีสีม่วงเมล์ดมะปรางดอกบานทนกว่า 2 สัปดาห์ ดอกออกในเดือน พฤษภาเลี้ยงในกรุงเทพฯ ต้องรดน้ำให้น้องลงก่อนถึง ฤดูดอกสัก 1-2 เดือนจะปล่อยออกดอกสม่ำเสมอดีขึ้น และควรปล่อยให้เป็นกอโตจะให้ดอกมากช่อขึ้น และกำเนิดโปรตีน แหล่งกำเนิดคิอในไทย พบตั้งแต่กาณจนะรุรีขึ้นไบจรถึงแม่ห้องสอนตามแนวไทย-พม่า
ทรงต้นผอมบางกว่าเข็มแสดแดง ยาวราว 15-20 ซม. กก้านช่อตั้งแต่ไม่แข็มเท่าเข็มแสด ยาวแระมาณ 20 ซม. ขนาดดอกโดยประมาณ 1.5 ซม. หรือโตกว่าเล็กน้อยออกรอบก้านช่อเป็นระเบียบพองาม ดอกสีส้มอมแดงหรือข่อนข้างแดงสดใส่ปลายเส้นมีสีม่วงเมล์ดมะปรางดอกบานทนกว่า 2 สัปดาห์ ดอกออกในเดือน พฤษภาเลี้ยงในกรุงเทพฯ ต้องรดน้ำให้น้องลงก่อนถึง ฤดูดอกสัก 1-2 เดือนจะปล่อยออกดอกสม่ำเสมอดีขึ้น และควรปล่อยให้เป็นกอโตจะให้ดอกมากช่อขึ้น และกำเนิดโปรตีน แหล่งกำเนิดคิอในไทย พบตั้งแต่กาณจนะรุรีขึ้นไบจรถึงแม่ห้องสอนตามแนวไทย-พม่า
เข็มแสดภาคใต้ (Asctm. miniatum)
มีลักษณะต้นและใบ คล้ายเข็มแดง แต่ลำต้นย่อมกว่า ใบแคบเล็กยาว และปลายใบโค้งลง ดอกเล็กกว่าเข็มแสดภาคอื่นขาดประมาณ 1 ซม. เท่านั้น และมีสีเข้มอมแดงคล้านเข็มแดง พบตั้งแต่ภาคใต้ลงไปถึงมลายา
มีลักษณะต้นและใบ คล้ายเข็มแดง แต่ลำต้นย่อมกว่า ใบแคบเล็กยาว และปลายใบโค้งลง ดอกเล็กกว่าเข็มแสดภาคอื่นขาดประมาณ 1 ซม. เท่านั้น และมีสีเข้มอมแดงคล้านเข็มแดง พบตั้งแต่ภาคใต้ลงไปถึงมลายา
เข็มแสด (Asctm. miniatum)
ลักษณะต้นเตี้ยแคระใบหนา แข็งซ้อนติดกันแน่น ต้นมักสูงไม่เกิน 30 ซม. แต่กหน่อเป็นกอโต ขนาดใบกว่าง 1.5 ซม. ยาวประมาณ 10 ซม. ปกติสีเขียว แต่ถ้าได้แดดมากจะมีประสีม่วงบนใบมาก ก้านช่อแข็งตั้งตรงสูง ประมาณ 15 ซม. ดอกดกแน่นช่อ ช่อละประมาณ 50 ดอก ขนาด ดอกโต ประมาณ 1.5 ซม. ปลายกส้นเกสรเห็นเป็นจุดสีดำ สีส้มอ่อนไปจนถึงสีส้มแก่สดใสสะดุดตามาก พบขึ้นในป่าโปร่งแห้งแล้งทั่วไปในทุคภาพ ฤดูดอกในราวเดือน กุมภาพันธ์ถึง มีนาคม เลี้ยงง่ายออกดอกง่าย บองต้นออกดอกในระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงกันยายนอีกครั้งหนึ่งก็มี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น